พิธีการไหว้ครูและครอบครู
“การไหว้ครู” หมายถึง การทำพิธีแสดงความเคารพสักการบูชาครูบาอาจารย์ด้วยความสำนึกในพระคุณของท่าน เป็นจารีตประเพณีไทยมาช้านาน เป็นพิธีกรรมที่ปรากฏอยู่ในศาสตร์หลายแขนง เช่น ศาสตร์ด้านการแพทย์ การช่าง เป็นต้น
📌โดยเฉพาะศาสตร์ที่เกี่ยวกับนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ ซึ่งให้ความสำคัญกับบุคคลที่เป็นครูบาอาจารย์อย่างยิ่ง ด้วยเหตุที่เพลงดนตรีบางเพลง หรือท่ารำบางท่าเป็นเพลงและท่ารำที่มีความศักดิ์สิทธิ์ หากไม่ได้ทำการไหว้ครูและครอบครู* เสียก่อนก็มิอาจสอนลูกศิษย์ได้ หรือหากสอนลูกศิษย์ไปแล้วเกิดผลร้ายแก่ผู้สอนหรือลูกศิษย์ในภายหลัง ถือกันว่าเป็นการผิดครู ดังนั้นจึงต้องมีพิธีการ “ไหว้ครู” และ “ครอบครู”
🙏พิธีการไหว้ครูและครอบครู
ตั้งแต่การตั้งเครื่องพิธีสงฆ์ ตั้งเครื่องละคร การจุดเทียนบูชาพระ การทำน้ำพระพุทธมนต์ บูชาเทวรูป-กล่าวคำเชิญเทพเทวดา ถวายเครื่องเซ่นไหว้ สักการะ การนำหัวโขนมาครอบแก่ลูกศิษย์ ฯลฯ ลำดับพิธีการดำเนินกระทั่งจบพิธีการเจิมหน้าโขนและเจิมหน้าลูกศิษย์ ลูกศิษย์เอาของมาบูชาครูและรำถวายครู
✅การประกอบพิธีไหว้ครูและครอบครู
(ในทางศิลปะ นาฎศิลป์ การแสดง) ผู้ประกอบพิธีจะสมมติตนเป็นพระภรตฤษี ซึ่งเป็นผู้รับเทวโองการจากพระพรหมให้มาถ่ายทอดแก่มนุษย์โลก (นาฏศาสตร์ การฟ้อนรำ มีกำเนิดจากพระอิศวรเป็นปฐม แล้วมอบให้พระพรหมแต่งเป็นตำรา ผ่านมาถึงพระภรตฤษี)
✅สัตตมงคลเหล่านี้ แต่ละชิ้นมีที่มาและความสำคัญอย่างยิ่ง ประกอบด้วย
๑. พระตำราไหว้ครูฉบับครูเกษ พระราม ตั้งแต่พ.ศ. ๒๓๙๗
๒. หัวโขนพระภรตฤษี (ผู้รับเทวโองการจากพระพรหมมาถ่ายทอดแก่มนุษย์โลก)
๓. หัวโขนพระพิราพ (ปางหนึ่งของพระอิศวรผู้ให้กำเนิดการฟ้อนรำ)
๔. เทริดโนราพร้อมหน้าพราน (โนราเป็นละครดั้งเดิมปรากฏตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา)
๕. ตู้เทวรูป พร้อมเทวรูป ๕ องค์
๖. ไม้เท้าหน้าเนื้อ (เป็นไม้ไผ่หัวเป็นรูปหน้าเนื้อสมัน แต่ไม่มีเขา)
๗. ประคำโบราณ และแหวนพิรอด (ทำจากผ้าถักลงยันต์แล้วพันด้วยด้าย)
คำว่า “ครอบครู” ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายว่า พิธีตั้งครูโขนเพื่อให้ผู้นั้นสามารถเป็นผู้ครอบศิษย์ต่อไป
วันพฤหัสบดี เป็นวันที่มีความหมายถึงวันครู เนื่องจากพระพฤหัสบดี (หรือ คุรุ) เป็นครูของเทพทั้งหลาย ประติมากรรมแสดงเป็นรูปนักบวชสวมสร้อยประคำ มีพาหนะเป็นกวางที่น่าจะหมายถึง กวางในป่าอิสิปปตนมฤคทายวัน สถานที่ปฐมเทศนาของพระพุทธเจ้าและเป็นที่อยู่ของเหล่าฤๅษีนักบวช
❤️”แสงแห่งศรัทธา” คือทีมงานมืออาชีพที่มีประสบการณ์มามากกว่า 30 ปี เราจะดูแลใส่ใจในทุกรายละเอียดตั้งแต่ต้นจนจบงาน เพื่อให้ทุกอย่างออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ เราพร้อมให้คำปรึกษาและแนะนำลูกค้าในทุกขั้นตอนของการจัดงาน
ผลงานที่ผ่านมา
แสงแห่งศรัทธา บริการรับจัดงานพิธีครบจบในที่เดียว ห้างสังฆภัณฑ์ ผู้บุกเบิกห้างสรรพสินค้าสังฆภัณฑ์ “เจ้าแรกในประเทศไทย”
แสงแห่งศรัทธา ผู้เนรมิตศาสนพิธีอย่างมืออาชีพ
ผู้บุกเบิกห้างสรรพสินค้าสังฆภัณฑ์ “เจ้าแรกในประเทศไทย”
📌 สามารถปรึกษาเพื่อดูฤกษ์งานได้ฟรีนะคะ
🚩บริการรับจัดงานพิธี ครบถ้วน สมบูรณ์ จบในที่เดียว
🚩รับจัดพิธีทำบุญ และพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทุกพิธี บริการครบวงจร
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่
🔹ทักไลน์ @satthaline > https://lin.ee/Opo79DK
🔹Facebook Inbox > m.me/satthaofficial
🔹IG : satthaofficial
🔹โทร : 085 659 1459
บริการทั้งหมด
สังฆภัณฑ์
ศาลพระพรหม รับจัดพิธีไหว้ศาลพระพรหม บวงสรวงศาลพระพรหม
บูชาพระพิฆเนศ บวงสรวงพระพิฆเนศ ไหว้พระพิฆเนศ รับจัดพิธีบวงสรวงพระพิฆเนศ
ความเชื่อเรื่องการบวงสรวงพระอินทร์
พระตรีมูรติ บวงสรวงพระตรีมูรติ วิธีไหว้พระตรีมูรติ
ศาลพระภูมิ ตั้งศาลพระภูมิ ศาลเจ้าที่
ศาลตายาย เครื่องไหว้ศาลตายาย บวงสรวงศาล รับจัดพิธีตั้งศาล ย้ายศาล
พิธีเปิดหน้าดิน รับจัดพิธีเปิดหน้าดิน รับจัดบวงสรวงพราหมณ์ทุกพิธี
พิธียกเสาเอก ทำไมต้องทำ? พิธีสำคัญก่อนสร้างบ้าน เสริมสิริมงคลให้ชีวิต
พิธีวางศิลาฤกษ์ การวางศิลาฤกษ์สำหรับนิคมอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมก่อสร้าง
บริการจัดพิธีบวงสรวงทุกรูปแบบ
บวงสรวงรื้อบ้านรื้อตึก รื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง รื้อถอนอาคาร รับจัดพิธีรื้อถอน
การบวงสรวงเปิดกล้อง ละคร ภาพยนตร์ การแสดง
พิธีเททองหล่อพระ และ พิธีพุทธาภิเษก แตกต่าง เกี่ยวข้อง และมีความสำคัญกันอย่างไร?
คติความเชื่อและพิธีบวงสรวงพญานาค
การบวงสรวงองค์พญาครุฑ
พิธีบวงสรวงอนุสาวรีย์
พิธีบวงสรวงตัดต้นไม้ใหญ่
พิธีบวงสรวงเปิดบริษัท หรือเปิดโรงงาน
พิธีบวงสรวงศาลหลักเมือง
พิธีบวงสรวงตลาดหลักทรัพย์คืออะไร สำคัญอย่างไร?
พิธีการไหว้ครูและครอบครู
พิธีบายศรีสู่ขวัญ
บริการจัดงานทำบุญ
งานทำบุญวันเกิด ทำไมคนถึงนิยมทำบุญในวันเกิด?
ทำบุญปีใหม่ ทำบุญบริษัท ทำบุญออฟฟิศ ทำบุญประจำปี
ความสำคัญของการทำบุญบ้าน และ ทำบุญขึ้นบ้านใหม่
งานทำบุญพิธีรับตำแหน่งคืออะไร? ทำไมต้องจัดงานทำบุญเมื่อบุคคลหนึ่งรับตำแหน่งหน้าที่ใหม่?
ประเพณีการบวชในพุทธศาสนา
พิธีแต่งงานแบบไทย
พิธีโกนผมจุก